วันเสาร์ที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2562

      พัฒนาการทางด้านแนวคิดและความหมายของคุณภาพชีวิตมีความเป็นมาอย่างต่อเนื่อง ในช่วงปี
พ.ศ. 2493-2502 (ทศวรรษ 1950) มาสโลว์ ได้พัฒนา ทฤษฎีลำดับขั้นความต้องการของ มาสโลว์ (Maslow’s Hierarchy of Needs Theory) เป็นทฤษฎีการจูงใจที่นักการจัดการ ให้ความสนใจ
เนื่องจากเป็นการศึกษาความต้องการของพนักงานโดยนำมาเป็นสิ่งจูงใจให้พนักงานมีความตั้งใจทำงาน
อย่างเต็มที่ เพื่อให้บรรลุเป้าหมายสูงสุดขององค์การและส่วนหนึ่งเพื่อตอบสนองความต้องการของ
พนักงานเช่นกัน เนื่องจากมนุษย์ย่อมมีความต้องการและเมื่อความต้องการยังไม่ได้รับการตอบสนอง
ก็จะเกิดความเครียด นำไปสู่การกระตุ้นให้เกิดแรงขับเคลื่อน เพื่อหาวิธีการหรือพฤติกรรมที่นำไปสู่สิ่งที่
ตนเองต้องการ เพื่อลดความตึงเครียดนั้น 
ลำดับขั้นความต้องการของมนุษย์ตามทฤษฎีลำดับขั้นความต้องการของมาสโลว์ แบ่งเป็น 5 ระดับ ดังนี้

1. ความต้องการทางด้านร่างกาย (Physiological Needs) 
  •  ความต้องการอาหาร น้ำดื่ม ที่พักอาศัย และความต้องการทางเพศ เป็นต้น


 2. ความต้องการความปลอดภัย (Safety Needs) 
  • ความต้องการความมั่นคง ความต้องการความ


3. ความต้องการทางสังคม (Social Needs) 
  •  ความ ต้องการความรัก ความใส่ใจ ความเป็นส่วน


4. ความต้องการเกียรติยศ (Esteem Needs) 
  •  ชื่อเสียง เกียรติยศ ตำแหน่ง อำนาจ การยกย่อง


5. ความต้องการให้ความฝันของตนเป็นจริง (Self-Actualization Needs) 
  • ความเจริญรุ่งเรืองในลาภยศสรรเสริญ เป็นต้น



ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น